900_230208_ใดเมนชั่น_고스트 디멘션 메인 poster_2_variation.png

 

 

 

 

 

ใดเมนชั่น
(고스트) 다이멘션
(Ghost) Dimension

2. 16 - 3. 15. 2023

Placemak BKK

12/9 Soi Sukhumvit 67, Phra Khanong Nuea, Watthana, Bangkok 10110

10:00 - 18:00 * Closed on Sunday and Monday

* ภาษาไทย โปรดเลื่อนลงด้านล่าง
* For English Please Scroll Down

 

 

산과 물, 나무와 돌로부터 생겨난 정령들, 세상의 온갖 도깨비와 귀신을 이르는 말인 ‘이매망량(魑魅魍魎)’이라는 한자어에는 각각의 글자마다 모두 귀신 귀(鬼)가 들어가 있다. 이는 모두 다른 의미의 귀신을 가리킨다. 산과 물속에 사는 요괴나 괴물, 정령, 도깨비 등 온갖 미신적인 존재에 대해, 우리는 이것들을 표현하기 위해 턱없이 부족한 단어를 가지고 있음에도 불구하고 ‘귀신(鬼神)’이라는 말로 죽은 것과 신을 스스럼없이 함께 사용하고 있다. 죽은 사람의 머리가 혼령처럼 빠져나가는 모양을 형상화한 귀(鬼)라는 이 한자어는 죽음의 순간에 인간의 영혼이 육체로부터 분리되는 모습을 포착하고 있다. 그러나 이 영혼이 어디로 가는지, 어떻게 되었는지는 아무도 알려주지 않는다. 이 전시는 ‘죽은 것’을 넘어서 존재하는 ‘어느 것’에 대한 길잡이다.

 

  이러한 미신적인 존재에 대해, 인간은 언제나 가까이하거나 멀리하는 두 가지 상반되는 입장을 동시에 취한다. 인간을 해하기도 하고 돕기도 하는 이들은 일종의 신적 대상으로 동서고금을 막론하고 어느 시대에서든 쫓아 없애거나 제물을 바쳐 달래는 행위로 다루어지면서, 박해와 신격화를 동시에 겪게 된다. 그러나 이것은 이미 그들의 존재를 상정한 이후에 나오는 인간의 선택적 태도에 불과하다. 신과 종교, 믿음과 신앙 이전부터 존재했던 죽음에 대한 막연한 두려움으로부터 비롯된 상상력은 자연과학과 기술로 설명되지 않는 주술적인 경험과 영적 현상과 함께 한다. 그리고 이때의 이 막연한 두려움이 미신이라는 주문을 통해 다른 세상의 것들을 불러내고, 미신은 일상에서 말이 가진 주술적 힘을 활용해 지금도 우리를 괴롭히고 있다.

 

  타로카드의 메이저 카드 중 13번째 카드는 ‘죽음(Death)’이다. ‘13’은 1과 3이 합쳐진 숫자로 1+3인 ‘4’와 대비된다. 세계의 질서와 안정을 의미하는 4번 황제(The Emperor) 카드와 대비되는 죽음 카드는 완전히 다른 세상, 또 다른 세계의 질서를 가리킨다. 이렇듯 13번 카드가 의미하는 것은 죽음으로서 종료되는 삶의 마지막이나 끝이 아니라 새로운 세상으로의 출발을 암시하고 있는 것이다. 그리고 그 죽음 이후에 다가올 새로운 세상은 완전히 다른 차원의 이야기로 이는 오롯이 인간의 상상력에 기반하고 있다. 재미있는 것은 죽음이 끝이 아니라 새로운 시작으로 바라보는 시각이며, 이는 곧 어느 것이 죽어야만 다른 것이 시작할 수 있다는 것이기도 하다. 축귀(逐鬼)는 귀신을 불러내야 물리칠 수 있으니까.

 

  이번 플레이스막 방콕에서는 4명의 태국 작가와 2명의 한국 작가가 각기 다른 방식으로 이 세상너머의 것에 주목한다. 그리고 이들이 불러낸 것은 무엇인가. “ใดเมนชั่น(ใดmension)”이라는 영어와 태국어가 혼종된 애매한 이 말은 어떤 것, 어느 것, 무엇 등의 비인칭 지시어를 묻는데 활용된다. 카몬찻 뺑토(Kamolchat Pangtho)는 우리가 일반적으로 알고 있는 3차원 너머에 있는 다차원적인 존재와 태국 사람들이 겪는 설명할 수 없는 신비한 경험이나 사건을 외계인의 형상으로 보여준다. 깐 마하빠오라야(Kant Mahapaurya)는 태국 고유의 종교적 전통과 의식 경험을 통해 종교적 제례의식에 활용되는 우상을 비롯한 여러 사물로부터 종교와 신앙, 물질주의 시대의 믿음에 대해 질문한다. 그리고 나이 끄랑 껍 프안 조지(Nai Krang Kub Phuean George)와 영화감독이자 작가인 산티 태판닛(Santi Taepanich)은 각각 지역의 문화에 따라 모습을 달리하는 유령과 악마, 귀신의 모습과 유령 이야기와 공포영화가 오히려 현대 사회에 엔터테인먼트로 자리매김 하는 과정에 흥미를 가지고 있다. 사진을 전공하고 설치 작업을 병행하는 양승욱(Yang Seungwook)은 〈Keep calm and play with toy〉 시리즈를 이번 전시에서 다시 선보인다. 이 작업은 쓰임을 다하고 버려진 물건들을 포착하여 거기에 내재한 오컬트적 성격을 부각시킨다. 오래된 사물에 깃든 영혼에 대한 미신과 믿음 사이에서 버려진 것들에 주목한다. 반면 지현아(Ji Hyuna)는 마법이나 마술이 미신적인 허구가 아니라 자신의 의지를 통해 변화하는 무언가로 상정하고, 초자연적 현상들과 주술적 행위를 작업의 모티프로 끌어들인다. 이들은 모두 인간의 이성 이전의 무엇, 자연 상태의 범신론적 흔적을 추적한다. 죽음 이후, 다른 차원의 이야기를 풀어내는 본 전시는 주위에 스며든 미신을 쫓아서 눈에 보이지 않는 ‘헛것’을 드러낸다. 

 

전시를 보고 돌아가는 길에는, 아무도 없는 밤 골목길을 조심하세요. 당신만 있는 것이 아닐 테니까요.

 

이슬비(Lee Seul bi)

 

 

 

 

고스트-다이맨션_작가모음-포스터_900.gif

 

 

 

 

 

Toward these superstitious beings, humans always take two opposite positions at the same time: close and distant. Both harming and helping humans, they are treated as a kind of divine object, chased away or appeased by offering sacrifices in both the East and the West, and persecuted and deified at the same time. However, this is only an optional attitude that comes after we have already assumed their existence. The imagination, born of a vague fear of death that predates gods, religion, faith, and belief, is accompanied by shamanic experiences and spiritual phenomena that cannot be explained by natural science and technology. This vague fear led to the invocation of otherworldly things through superstitious incantations, and superstition continues to haunt us today by utilizing the occult force of words in our everyday lives.

 

 

สำหรับสิ่งมีชีวิตที่เชื่อทางด้านไสยศาสตร์  มนุษย์มักจะมีสองสถานะที่ตรงข้ามกันในเวลาเดียวกัน: ใกล้และไกล ทั้งทำร้ายและช่วยเหลือมนุษย์ สิ่งเหล่านั้นถูกปฏิบัติราวกับเป็นวัตถุศักดิ์สิทธิ์ทั้ง ถูกตามล่าและถูกบูชาด้วยการเซ่นสังเวยเช่นเดียวกันทั้งในความเชื่อทางตะวันออกและตะวันตก ถูกข่มเหงและยกย่องในเวลาเดียวกัน อย่างไรก็ตาม นี่เป็นมุมมองที่เกิดจากความเชื่อว่าสิ่งเหล่านั้นมีอยู่จริง ผนวกกับจินตนาการที่เกิดจากความกลัวความตายที่ดูคลุมเครือ ซึ่งความเชื่อเหล่านี้เกิดขึ้นก่อนเทพเจ้า ศาสนา ความศรัทธา เกิดขึ้นมาพร้อมกับความเชื่อที่เก่าแก่อย่างชามานิก(หมอผี) และปรากฏการณ์ทางจิตวิญญาณที่ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ และเทคโนโลยี ความกลัวที่ดูคลุมเครือนี้นำไปสู่การวิงวอนต่อสิ่งเหนือธรรมผ่านบทสวดและคาถา และความเชื่อโชคลางยังคงตามหลอกหลอนเราจนถึงทุกวันนี้ ที่แอบแฝงอยู่ในคำพูดที่เต็มไปด้วยพลังลึกลับ ในชีวิตประจำวันของเรา

 

 

The 13th card in the Major Arcana of the Tarot is Death. The number 13 is a

combination of 1 and 3, contrasted with the number 4, which is 1+3. In contrast to The Emperor (#4), which represents order and stability in the world, the Death card represents a completely different world, a different world order. In this way, the 13th card suggests not the end of life, which ends with death, but the beginning of a new world. And the new world that comes after death is a completely different story, one that is based solely on the human imagination. Interestingly, death is not seen as an end, but as a new beginning, which means that only when something dies can something else begin. The only way to defeat evil spirits is to invoke them.

 

 

ไพ่ใบที่ 13 ในไพ่ยิปซีจากไพ่ชุดใหญ่( Major Arcana) คือไพ่ The Death หมายเลข 13 ถูกมองว่าเป็นการรวมกันของ 1 และ 3 ซึ่งตรงกันข้ามกับตัวเลข 4 นั่นก็คือ ไพ่The Emperor (#4) ที่แสดงถึงความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงในโลก ไพ่ The Deathแสดงถึงโลกที่แตกต่างไปจากเดิมอย่างสิ้นเชิง และการเปลี่ยนแปลงระเบียบโลกที่อย่างพลิกผัน  แต่ไพ่ใบที่ 13 นั้นไม่ได้แปลความหมายว่าเป็นจุดจบของชีวิตหรือความตาย แต่เป็นจุดเริ่มต้นของโลกใหม่ และโลกที่เราต้องเผชิญหลังความตายเป็นเรื่องราวที่มีพื้นฐานมาจากจินตนาการของมนุษย์เท่านั้น สิ่งหนึ่งที่น่าสนใจนั้นคือความตายไม่ได้ถูกมองว่าเป็นจุดจบ แต่เป็นการเริ่มต้นใหม่ ซึ่งหมายความว่าเมื่อบางสิ่งตายลงไปเท่านั้นที่จะเริ่มต้นสิ่งใหม่ขึ้นมาได้ วิธีเดียวที่จะเอาชนะวิญญาณชั่วร้ายได้คือการเรียกพวกมัน

 

 

In this exhibition of PLACEMAK Bangkok, four Thai and two Korean artists pay

attention to what is beyond the world in different ways, and what they invoke. "ใด

เมนชั่น" (ใดmension), an ambiguous phrase in English and Thai, is used to ask for impersonal referents such as which, which one, and what. Kamolchat Pangtho is an alien representation of multidimensional beings beyond the three dimensions we commonly know, as well as unexplained mysterious experiences or events that Thai people have. Kant Mahapaurya draws on Thailand's unique religious traditions and ritual experiences to ask questions about religion, faith, and belief in a materialistic age, from idols and other objects utilized in religious rituals. Nai Krang Kub Phuan

George and filmmaker and writer Santi Taepanich are both interested in ghosts, demons, and hauntings that take on different forms depending on the local culture, and how ghost stories and horror films have become a form of entertainment in modern society. Yang Seungwook, who majored in photography and works with installation, will reintroduce his 'Keep calm and play with toys' series in this exhibition. The work captures used and discarded objects and highlights their inherent occult qualities. It focuses on the superstitions and beliefs about the spirits inhabiting old objects. Ji Hyuna, on the other hand, imagines magic and sorcery not as superstitious fiction but as something that can be changed through one's own will and draws on supernatural phenomena and shamanistic practices as motifs in her work. They all trace the pantheistic traces of what precedes human reason, the state of nature. Telling the story of another dimension after death, the exhibition chases the superstitions that permeate the surroundings and reveals the invisible 'nothingness'.

 

“On your way home from the exhibition, watch out for the deserted alleyways at night, because you won't be the only one.”

 

 

ใน PLACEMAK Bangkok ในครั้งนี้ ศิลปินชาวไทย 4 คนและศิลปินชาวเกาหลี 2 คนให้ความสนใจกับสิ่งที่อยู่เหนือโลกมนุษย์ในรูปแบบที่แตกต่างกัน  "ใดเมนชั่น" (ใดmension) เป็นวลีที่กำกวมในภาษาอังกฤษและภาษาไทย ใช้เพื่อถามถึงการอ้างอิงที่ไม่มีตัวตน เช่น อันไหน อันไหน อะไร กมลฉัตร เป็งโท กล่าวถึงความเป็นไปได้ของรูปลักษณ์เทวดาที่ความคุมผลบุญและกรรม รวมถึงประสบการณ์หรือเหตุการณ์ลึกลับที่คนไทยมี กันต์ มหาเปารยะดึงเอาประสบการณ์ทางศาสนาและพิธีกรรมทางศาสนาที่เป็นเอกลักษณ์ของไทยมาตั้งคำถามเกี่ยวกับวัตถุทางศาสนา ความศรัทธา และความเชื่อในยุควัตถุนิยม จากรูปเคารพและวัตถุอื่นๆ ที่ใช้ในพิธีกรรม นายกร่าง กับ เพื่อน จอร์จและผู้สร้างภาพยนตร์และนักเขียน สันติ แต้พานิช ต่างก็สนใจเรื่องผี ปีศาจ และการหลอกหลอนที่มีรูปแบบแตกต่างกันไปตามวัฒนธรรมท้องถิ่น และความถดถอยของการ์ตูนผีที่เป็นเป็นความบันเทิงรูปแบบหนึ่ง Yang Seungwook ศิลปินภาพถ่ายและศิลปะจัดวาง จะนำเสนอผลงานในชุด 'Keep calm and play with toys' ของเขาอีกครั้งในนิทรรศการนี้ ผลงานนี้รวบรวมวัตถุที่เต็มไปด้วยสัญลักษณ์ทางไสยศาสตร์ โชคลางและความเชื่อเกี่ยวกับวิญญาณที่สิงอยู่ในวัตถุโบราณ ในอีกทางหนึ่ง Hyuna Ji จินตนาการถึงเวทมนตร์และคาถาอาคมซึ่งไม่ใช่แค่เพียงนิยายทางด้านไสยศาสตร์ แต่เป็นสิ่งที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ด้วยความตั้งใจของตนเอง และดึงเอาปรากฏการณ์เหนือธรรมชาติและพิธีกรรมทางไสยศาสตร์มาเป็นแรงจูงใจในการทำงานของเธอ ศิลปินกลุ่มนี้เฝ้าติดตามร่องรอยของลัทธิ การมีอยู่ของพระเจ้าซึ่งอยู่เหนือเหตุผลของมนุษย์ สภาวะของธรรมชาติ บอกเล่าเรื่องราวในอีกมิติหนึ่งหลังความตาย เป็นนิทรรศการที่กำลังไล่ตามความเชื่อโชคลาง ไสยศาสตร์ที่แทรกซึมอยู่รอบตัวและเผยให้เห็นใน 'ความว่างเปล่า' ที่มองไม่เห็น

 

“ระหว่างทางกลับบ้านจากนิทรรศการ ให้ระวังตรอกซอกซอยเปลี่ยวในตอนกลางคืน เพราะคุณอาจไม่ได้อยู่คนเดียว”

 

 

 

900_Ghost Dimension_2.jpg

 

 

900_Ghost Dimension_3.jpg

​​​​​​​

 

900_Ghost Dimension_4.jpg

​​​​​​​

 

900_Ghost Dimension_7.jpg

​​​​​​​

 

900_Ghost Dimension_8.jpg

​​​​​​​

 

900_Ghost Dimension_10.jpg

​​​​​​​

 

900_Ghost Dimension_17.jpg

​​​​​​​

 

900_Ghost Dimension_14.jpg

 

 

900_Ghost Dimension_21.jpg

​​​​​​​

 

900-Ghost Dimension_24.jpg